วันพุธที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

ภาษาคอมพิวเตอร์กับการพัฒนาโปรแกรม

ภาษาคอมพิวเตอร์กับการพัฒนาโปรแกรม

ภาษาคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ใช้สัญญาณดิจิตอล(Digital) ในการท างาน ดังนั้นคอมพิวเตอร์จะรู้จักและท างานกับ เลขฐาน

2 ซึ่งก็คือ 0 และ 1 เท่านั้น โดยค าสั่งที่เป็น 0 และ 1 นี้จะถูกเรียกว่าภาษาเครื่อง ดังนั้นการสั่งงานให้คอมพิวเตอร์

ท างานจะต้องมีการเขียนค าสั่งที่ประกอบไปด้วย 0 และ 1 แต่ในความเป็นจริงการเขียนค าสั่งด้วย 0 และ 1

สามารถท าได้ยากเพราะต้องเขียนค าสั่งมากมายและมนุษย์ก็ยากที่จะเข้าใจค าสั่งของภาษาเครื่อง ดังนั้นจึงได้มีการ

คิดค้นภาษาที่ใช้แทนภาษาเครื่อง และท าการแปลภาษาที่คิดค้นขึ้นมานี้ให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อไปสั่งงาน

คอมพิวเตอร์อีกครั้งหนึ่ง

ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Languages) หมายถึงภาษาที่ใช้ส าหรับเขียนชุดค าสั่งเพื่อให้

คอมพิวเตอร์ท างานตามที่ก าหนด โดยชุดค าสั่งที่ถูกเขียนขึ้นนี้จะถูกเรียกว่าโปแกรม (Program) ซึ่งในปัจจุบันมี

ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส าหรับการพัฒนาโปรแกรมอยู่มากมายหลายภาษา เช่น ภาษาซีภาษา เบสิค ภาษาจาวา

เป็นต้น โดยในแต่ละภาษาจะมีหลักการเขียนและกฎเกณฑ์ที่แตกต่างกันไป แต่ภาษาคอมพิวเตอร์แต่ละภาษาจะมี

ลักษณะที่คล้ายกันคือ

 มีค าสั่งรับข้อมูลและแสดงผลข้อมูล

ภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษาต้องมีค าสั่งในการรับข้อมูลจากภายนอกเข้าสู่คอมพิวเตอร์และจะต้องมีค าสั่ง


ส าหรับใช้ในการแสดงผลข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว

 มีค าสั่งส าหรับการค านวณ

ภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษาจะต้องมีค าสั่งที่ใช้ส าหรับการค านวณทางคณิตศาสตร์คือ บวก ลบ คูณหาร

 มีค าสั่งที่มีการเปรียบเทียบและให้เลือกทิศทาง

ภาษาคอมพิวเตอร์จะต้องมีค าสั่งที่ใช้ส าหรับเปรียบเทียบเพื่อใช้ส าหรับตัดสินใจในการเลือกทิศทางการ

ท างานของโปรแกรม

 มีค าสั่งส าหรับเก็บบันทึกข้อมูลลงหน่วยความจ าส ารอง

ส าหรับการส่งข้อมูลไปเก็บบันทึกในสื่อบันทึกอย่างใดอย่างหนึ่งและมีค าสั่งที่เรียกข้อมูลที่เก็บอยู่นั้นมา

ใช้ได้อีก

ภาษาคอมพิวเตอร์จะมีลักษณะเช่นเดียวกับภาษาทุกภาษาบนโลกซึ่งจะประกอบไปด้วย ตัวเลขตัวอักษร

ค าศัพท์(Vocabularies) และไวยากรณ์(Syntax)

วิวัฒนาการของภาษาคอมพิวเตอร์

ภาษาคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาจากภาษาคอมพิวเตอร์ระดับต่ าซึ่งเป็นภาษาที่มนุษย์เข้าใจยาก ซึ่ง

ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับต่ านั้นเป็นภาษาที่ติดต่อและสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง จนมาถึงในปัจจุบัน

ภาษาคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น การพัฒนา

โปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงจะเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ว เนื่องจากภาษาระดับสูงมีความ

ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ผู้พัฒนาโปรแกรมจึงสามารถเข้าใจได้ง่ายโดยวิวัฒนาการของภาษาคอมพิวเตอร์สามารถ

แบ่งได้ดังนี้

1. ภาษายุคที่ 1 ภาษาเครื่อง (Machine Language)

2. ภาษายุคที่ 2 ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Language)

3. ภาษายุคที่ 3 ภาษาชั้นสูง (High-level Language)

4. ภาษายุคที่ 4 ภาษาชั้นสูงมาก (Very High-level Language)

5. ภาษายุคที่ 5 ภาษาธรรมชาติ(Natural Language)

ภาษายุคที่1 ภาษาเครื่อง (Machine Language)

ภาษาเครื่อง หมายถึง ภาษาของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เขียนแทนด้วยเลขฐานสองที่สั่งให้คอมพิวเตอร์

ท างานได้ทันทีซึ่งการเขียนค าสั่งแบบนี้มนุษย์ไม่คุ้นเคย เพราะการแทนค าสั่งจะเขียนด้วย 0 หรือ 1 เมื่อน าไปแทน

สัญญาณทางไฟฟ้าในระบบคอมพิวเตอร์จะเป็น ON หรือ OFF ภาษาเครื่องจัดอยู่ในภาษาระดับต่ า

รหัสค าสั่งของภาษาเครื่องจะประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ รหัสบอกประเภทของค าสั่ง (Operation Code

หรือ Opcode) เป็นรหัสที่สั่งให้เครื่องท าการประมวลผล เช่น บวก ลบ คูณ หาร ส่วนที่สองคือรหัสบอกต าแหน่ง

ข้อมูล (Operand) เป็นรหัสที่บอกต าแหน่งของข้อมูลที่เก็บอยู่บนหน่วยความจ าเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทราบว่าต้อง

น าข้อมูลต าแหน่งใดมาท าการค านวณ ตัวอย่าง ภาษาเครื่อง เช่น

01010111 010111011111011100011010

01010111 คือ Op-Code

010111011111011100011010 คือ Operand

ภาษายุคที่2 ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Language)

ภาษาแอสแซมบลียังจัดอยู่ในภาษาระดับต ่า และจัดเป็นภาษาสัญลักษณ์(Symbolic Language) เพราะ

เป็นการใช้สัญลักษณ์ข้อความแทนกลุ่มของเลขฐานสอง ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาแอสแซมบลีกับภาษาเครื่องมี

ความใกล้เคียงกันมากคือ 1 ค าสั่งภาษาเครื่องเท่ากับ 1 ค าสั่งของภาษาแอสแซมบลีภาษาเครื่องเขียนแทนด้วย

เลขฐานสอง 1 หรือ 0 ส่วนภาษาแอสแซมบลีเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์หรือ (Mnemonic codes) เป็นการน า

ตัวอักษรมาเขียนเป็นตัวย่อ เช่น การบวกใช้ADD การลบใช้SUB เป็นต้น การเขียนภาษาชนิดนี้ก่อนน าไปใช้งาน

จะต้องผ่านตัวแปลภาษาก่อนที่เรียกว่า Assembler program เพื่อเปลี่ยนให้เป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ

คือ ภาษาเครื่อง (Machine Language) การเขียนค าสั่งภาษาชนิดนี้ไม่สะดวกในการพัฒนาโปรแกรมแต่ละครั้ง

ตัวอย่าง ภาษาแอสเซมบลีมีดังนี้

B80103 mov ax,00301

B90100 mov cx,00001

BA8000 mov dx,00080

CD13 int 013

C3 retn

ภาษายุคที่3 ภาษาชั้นสูง (High-level language)

ภาษาชั้นสูงเป็นภาษาที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงต้นปี1960 โครงสร้างทางภาษามีลักษณะเหมือนกับ

ภาษาอังกฤษ ท าให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการเขียนค าสั่งและความต้องการของผลลัพธ์ ท าให้ผู้เขียนโปรแกรมลด

ความยุ่งยากลงไปได้มาก ภาษาชั้นสูงส่วนใหญ่เป็นการเขียนโปรแกรมแบบเชิงโครงสร้าง (Structured

Programming) ซึ่งเป็นการเขียนโปรแกรมที่จะท างานจากบนลงล่าง ภาษาชั้นสูงท าให้ผู้ใช้เขียนโปรแกรมง่ายขึ้น

โดยจะต้องมีตัวแปลภาษา (Translator) ท าการแปลภาษาตามกฏเกณฑ์ที่ก าหนดขึ้นของภาษาระดับสูง เพื่อแปล

เป็นภาษาเครื่องที่จะน าไปให้คอมพิวเตอร์ท างาน ภาษาชั้นสูงส่วนมากจะใช้กับงานทั่วไป การประยุกต์ใช้

ภาษาคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเขียนด้วยภาษา Basic, ภาษาFORTRAN, ภาษา COBOL และภาษาระดับสูงของ

คอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ ภาษา C

ในการใช้งานภาษาระดับสูงจะต้องแปลภาษาระดับสูงที่เขียนขึ้นไปเป็นค าสั่งหรือภาษาที่เครื่อง

คอมพิวเตอร์เข้าใจ อีกนัยหนึ่งก็คือการแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ซึ่งโปรแกรมแปลภาษาสามารถแบ่ง

ออกได้เป็น 2 ประเภทคือ อินเทอพรีทเตอร์(Interpreter) และคอมไพเลอร์(Compiler)

อินเทอพรีทเตอร์ (Interpreter) เป็นโปรแกรมแปลภาษาที่จะแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง

โดยจะท าการแปลค าสั่งทีละค าสั่งและมีการท างานตามค าสั่งที่แปลนั้นทันทีเมื่อแปลค าสั่งหนึ่งเสร็จแล้วก็จ าท า

การแปลค าสั่งต่อไปตามล าดับ ค าสั่งที่ถูกแปลเป็นภาษาเครื่องแล้วจะไม่ถูกเก็บไว้เมื่อต้องการใช้งานโปรแกรมนี้อีก

จะต้องท าการแปลค าสั่งทุกครั้งที่ต้องการใช้งานโปรแกรม ท าให้การท างานของโปรแกรมมีความไม่สะดวก และถ้า

เกิดข้อผิดพลาดของค าสั่งหนึ่งค าสั่งใดในโปรแกรมจะต้องท าการแก้ไขค าสั่งให้ถูกต้องแล้วสั่งให้โปรแกรมสั่งท างาน

ใหม่ตัวอย่าง ภาษาที่ใช้ตัวแปลภาษาแบบอินเทอพรีทเตอร์ได้แก่ ภาษา BASIC

คอมไพเลอร์(Compiler) เป็นตัวแปลภาษาชั้นสูงอีกชนิดหนึ่งที่จะท าการแปลค าสั่งจากภาษาระดับสูง

ให้เป็นภาษาเครื่อง โดยจะแปลค าสั่งทั้งโปรแกรมเสร็จในครั้งเดียว โดยกลุ่มค าสั่งที่ถูกแปลเป็นภาษาเครื่องแล้วจะ

ถูกจัดเก็บในรูปแบบที่เรียกว่าออฟเจ็คโปรแกรม (Object Program) คอมพิวเตอร์จะท างานโดยน าออฟเจ็ค

โปรแกรมนั้นไปประมวลผลเพื่อท างานต่อไป


เป็นภาษาที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อลดขั้นตอนการออกแบบระบบ โดยผู้ใช้ระบุผลลัพธ์ที่ต้องการ จากนั้น

โปรแกรมก็จะใช้ความรู้ภายในตัวภาษามาหาผลลัพธ์นั้นๆ แต่บางฟังก์ชันก็ยังต้องอาศัย การก าหนดเงื่อนไขและ

ล าดับขั้นตอนของงานด้วย ภาษารุ่นนี้ เช่น ภาษาสอบถาม (Query Language) ซึ่งใช้ในการสืบค้นข้อมูลใน

ฐานข้อมูล ได้แก่ ภาษา SQL (Structured Query Language) นอกจากภาษาสอบถาม ยังมีภาษาแบบตัวสร้าง

โปรแกรม (Program Generator) ซึ่งมักจะพบในโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล เช่น dBASE, FoxPro, MS Access เป็นต้น

ภาษายุคที่5 ภาษาธรรมชาติ(Natural language)

เป็นการใช้ภาษามนุษย์ในการสั่งงานคอมพิวเตอร์โดยตรงโดยไม่จ าเป็นต้องมีรูปแบบของภาษาที่ยุ่งยาก

โดยสามารถเขียนค าสั่งเป็นภาษาที่มนุษย์เข้าใจเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างาน ปัจจุบันยังไม่มีการใช้งานทั่วไป

เพราะอยู่ในขั้นตอนของการวิจัยเนื่องจากภาษาของมนุษย์มีความก ากวม ยากที่จะท าให้คอมพิวเตอร์เข้าใจได้โดย

ส่วนใหญ่จะใช้ภาษาธรรมชาติกับระบบฐานความรู้(Knowledge based system) ซึ่งจะใช้ภาษาธรรมชาติในการ

สั่งให้คอมพิวเตอร์ค้นหาค าตอบจากระบบฐานความรู้

ข้อแตกต่างระหว่างภาษาระดับต่ ากับภาษาระดับสูง

• ภาษาระดับต่ าจะมีความแตกต่างกันเมื่อใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างเครื่องกัน ส่วนภาษาระดับสูงนั้น

สามารถใช้ได้กับ คอมพิวเตอร์ต่างเครื่องกัน โดยอาจมีการปรับปรับปรุง หรือ เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น

• ภาษาระดับสูงมนุษย์สามารถอ่านเข้าใจได้ง่ายกว่าภาษาระดับต่ า เพราะภาษาระดับสูงมีลักษณะคล้าย

กับมนุษย์ที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน ส่วนภาษาระดับต่ าอาจใช้รหัสหรือค าย่อแทนค าสั่งให้ท างาน

• ภาษาระดับต่ าจะต้องเขียนขั้นตอนการท างานอย่างละเอียดจึงใช้เวลาในการเขียนโปรแกรมมากกว่าการ

เขียนโปรแกรมระดับสูง

• การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับต่ า จ าเป็นต้องศึกษาและเข้าใจระบบการท างานภายในคอมพิวเตอร์

แต่การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงไม่จ าเป็นต้องศึกษาอย่างลึกซึ้ง

ตัวอย่างภาษาระดับสูง

 ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN)

ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN : FORmula TRANslation) จัดได้ว่าเป็นภาษาระดับสูงภาษาแรกของโลก

พัฒนาในปีค.ศ. 1954 โดยทีมนักคอมพิวเตอร์บริษัท ไอบีเอ็ม (IBM) น าทีมโดย จอห์น แบคคัส (John

Backus) โดยแนะน าออกมาสองรุ่น คือ FORTRAN II และ FORTRAN IV ต่อมาได้พัฒนาภาษา เป็นมาตรฐานรุ่น

แรก เรียกว่า FORTRAN-66 อย่างไรก็ตามยังมีข้อบกพร่องอีกหลายประการ เช่น ไม่สามารถก าหนดชนิดข้อมูลไม่

สามารถท างานกับข้อมูลประเภทสายอักขระและไม่มีค าสั่งที่สามารถก าหนดโครงสร้างได้เหมาะสมจึงมีการ

ปรับปรุงแก้ไขและออกมาเป็น FORTRAN-77 และ FORTRAN-88 ซึ่งยังมีใช้จนถึงปัจจุบัน ภาษานี้ใช้ส าหรับการ

พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ที่ต้องใช้ในการค านวณสมการคณิตศาสตร์ที่

ซับซ้อน

ตัวอย่าง โปรแกรมภาษาฟอร์แทรน

programme

cc

integer int

int = 12

write(*,*) 'The value of int is',

+ int

end

stop

 ภาษาโคบอล (COBOL)

ภาษาโคบอล (COBOL : Common Business Oriented Language) เป็นภาษาส าหรับใช้ในงานธุรกิจ

ภาษาแรกของโลก พัฒนาในปี1962 โดยคณะกรรมการโคดาซิล (The Conference on Data Systems

Languages - CODASYL) มีจุดเด่นคือสามารถใช้งานแฟ้มข้อมูลได้หลายแบบ ก าหนดโครงสร้างข้อมูลได้สะดวกมี

ลักษณะการเขียนโปรแกรมแบบเอกสารอธิบายโปรแกรม ช่วยให้ข้อมูลกับนักพัฒนารุ่นถัดไปได้ง่ายและสะดวก

ตัวอย่าง ภาษาโคบอล

000100 IDENTIFICATION DIVISION.

000200 PROGRAM-ID. HELLOWORLD.

000300

000400*

000500 ENVIRONMENT DIVISION.

000600 CONFIGURATION SECTION.

000700 SOURCE-COMPUTER. RM-COBOL.

000800 OBJECT-COMPUTER. RM-COBOL.

000900

001000 DATA DIVISION.

001100 FILE SECTION.

001200

100000 PROCEDURE DIVISION.

เรียบเรียงโดย อ.พินันทา ฉัตรวัฒนา หน้า 6

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

100100

100200 MAIN-LOGIC SECTION.

100300 BEGIN.

100400 DISPLAY " " LINE 1 POSITION 1 ERASE EOS.

100500 DISPLAY "Hello world!" LINE 15 POSITION 10.

100600 STOP RUN.

100700 MAIN-LOGIC-EXIT.

100800 EXIT.

 ภาษาอัลกอ (ALGOL)

ภาษา ALGOL หรือ Algorithmic Language คิดค้นโดยกลุ่มนักคอมพิวเตอร์ที่มาประชุมวิชาการที่ซูริค

ในปี1958 และออกเผยแพร่ปี1960 มีค าสั่งก าหนดโครงสร้างและชนิดข้อมูลอย่างสมบูรณ์และมีการน าไปเป็น

พื้นฐานในการออกแบบภาษารุ่นที่ 3 ที่นิยมกันอย่างมากในปัจจุบัน เช่น Pascal โดยภาษา ALGOL ที่เป็น

มาตรฐาน ได้แก่ALGOL-60 และ ALGOL-68

ตัวอย่าง ภาษาอัลกอ

BEGIN

FILE F (KIND=REMOTE);

EBCDIC ARRAY E [0:11];

REPLACE E BY "HELLO WORLD!";

WHILE TRUE DO

BEGIN

WRITE (F, *, E);

END;

END.

 ภาษาเบสิค (BASIC)

ภาษาเบสิค (BASIC: Beginner's All Purpose Symbolic Instruction Code) พัฒนาโดย จอห์น เคม

เมนี(John Kemeny) และ ธอมัส เดิรตส์ (Thomas Kurtz) วิยาลัยดาร์ทเมิร์ท (Dartmouth College) ในปี

ค.ศ.1963 จุดประสงค์เพื่อใช้สอนวิชาการเขียนโปรแกรมและได้รับความนิยมอย่างสูงบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์

เรียบเรียงโดย อ.พินันทา ฉัตรวัฒนา หน้า 7

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

โดยมีการน ามาท าเป็นชุดค าสั่งถาวร (Firmware) เก็บไว้ใน ROM บนไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆ ปัจจุบันมีการ

พัฒนารูปแบบและตัวแปลภาษาออกมาหลายรุ่น เช่น Quick BASIC, Turbo BASIC และยังได้รับความนิยมอยู่

จนถึงปัจจุบัน เนื่องจากมักเป็นภาษาแรกที่ใช้ในการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ปัจจุบันได้พัฒนาเป็น Visual

BASIC เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายสามารถประยุกต์ใช้งานได้ทั้งทางวิทยาศาสตร์และทางธุรกิจ

ตัวอย่าง ภาษาเบสิค

100 REM This program reads and writes

110 PRINT "What is your name";

120 INPUT name$

130 PRINT "Hi, ";name$;"!"

140 PRINT "Please type a number";

150 INPUT num1

160 PRINT "Please type another number";

170 INPUT num2

180 PRINT name$;", do you know how much ";num1;" plus ";num2" add up to?"

190 PRINT "Please type the sum here";

200 INPUT num3

210 IF (num3 = (num1 + num2)) then

220 PRINT "Very good, ";name$;", that is correct!!"

230 ELSE

240 PRINT "I'm sorry, that is not correct."

250 PRINT num1, "plus", num2, "is", num3

260 END IF

270 END

 ภาษา PL/1

ภาษา PL/1 เป็นภาษาที่พัฒนาขึ้นโดยทีมงานของบริษัทไอบีเอ็ม ที่ตั้งใจจะรวมความสามารถของภาษา

FORTRAN, ALGOL, COBOL เข้าด้วยกัน ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า ภาษานี้เป็นภาษาแรกที่ท างานได้กว้างขวาง

จริงๆ ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์วิศวกรรมและธุรกิจ แต่ขณะเดียวกันก็ท าให้ตัวแปลภาษาใหญ่มาก จนไม่สามารถ

น าไปใช้กับเครื่องขนาดเล็กได้ภาษานี้ก าหนดรูปแบบ/ประเภทข้อมูลได้หลายแบบท างานหลายงานพร้อมกันได้

เรียบเรียงโดย อ.พินันทา ฉัตรวัฒนา หน้า 8

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

(Multitasking) ท างานกับอุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่ซับซ้อนได้และประมวลรายการได้(List Processing) แต่ภาษานี้

ไม่เป็นที่ยอมรับมากนัก

ตัวอย่าง ภาษา PL/1

Procedure options(main);

Put List( 'Hello world' );

End World;

 ภาษาปาสคาล (PASCAL)

ภาษาปาสคาล เป็นภาษาที่นิคลอส เวิร์ธ (Prof. Niklaus Wirth ปีค.ศ. 1970) แห่งสถาบัน Swiss

Federal Institute of Technology สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการสอนเทคนิคใหม่ๆ ทางด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ซึ่งก็

คือ เทคนิคการโปรแกรมแบบโครงสร้างและเป็นภาษาที่ได้รับความนิยมอย่างสูงถึงขั้นที่มีเสียงเรียกร้องให้น าภาษา

นี้ไปบรรจุเป็นภาษาเริ่มต้นในคอมพิวเตอร์แทนภาษาเบสิค บริษัทบอร์แลนด์จึงได้น าตัวแปลภาษาปาสคาลไปท า

เป็นตัวแปลภาษาในรูปของ Turbo Pascal ซึ่งมีราคาถูก ซึ่งเป็นเหตุหนึ่งที่ช่วยให้ภาษานี้แพร่หลายมากขึ้นและ

ได้รับความนิยมสูง อาจกล่าวได้ว่าภาษาปาสคาลเป็นลูกของภาษา ALGOL โดยตรงเพราะมีโครงสร้างและลักษณะ

ที่คล้ายกันมาก

ตัวอย่าง ภาษาปาลคาล

program sample(output);

var r : real := 1.2;

begin

writeln(r);

end.

 ภาษา Modula-2

ภาษา Modula-2 เป็นภาษาที่นิคลอส เวิร์ธ ปรับปรุงจากภาษาปาสคาล โดยพยายามให้มีลักษณะที่ดีของ

ภาษา ส าหรับเขียนโปรแกรมมากขึ้น เช่น การท าให้มีการซ่อนสารสนเทศ (Information Hiding) หลักการ

นามธรรม (Abstraction) การก าหนดชนิดข้อมูล ซึ่งสามารถน าไปใช้กับการด าเนินงานแบบ Recursion และ

Concurrency ได้ด้วย ปัจจุบันภาษานี้ไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร

เรียบเรียงโดย อ.พินันทา ฉัตรวัฒนา หน้า 9

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

 ภาษาเอด้า (Ada)

ภาษา Ada พัฒนาขึ้นตามสัญญาว่าจ้างของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่ต้องการได้

ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้แทนภาษาอื่นๆ ที่หน่วยงานต่างๆ ภายในกระทรวงก าลังใช้อยู่ในขณะนั้นได้ภาษานี้

มีโครงสร้างคล้ายภาษาปาสคาลแต่ท างานได้มากกว่า เช่น ท างานหลายงานได้พร้อมกัน (Multitasking) จัดการกับ

การขัดจังหวะได้(Interrupt handling) จัดจังหวะการท างานให้เข้ากัน (Intertask Synchronization) เป็นต้น ซึ่ง

นับว่าเป็นภาษาที่มากด้วย โครงสร้างแบบต่างๆ จึงมีขนาดใหญ่ด้วยผู้คิดภาษานี้ที่ตั้งชื่อว่าเอด้า เพื่อเป็นเกียรติแก่

เลดี้เอด้า ออกุสต้า ซึ่งท างานร่วมกับ ชาร์ลส แบบเบจ เธอเองเป็นต้นคิดในการท าโปรแกรมจนได้ชื่อว่าเป็น

นักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก

ตัวอย่าง ภาษาเอด้า

with Text_To; use Text_To

procedure hello is

begin

put("Hello World");

end hello

 ภาษาซี(C)

ภาษา C พัฒนาโดยกลุ่มนักคอมพิวเตอร์จากห้องปฏิบัติการเบลล์ เพื่อใช้กับงานระบบ (System) เช่น

การน าไปใช้เป็นระบบปฏิบัติการ UNIX ซึ่งเป็นภาษาที่ได้รับความนิยมอย่างสูง ในปัจจุบัน เพราะมีลักษณะที่

น่าสนใจอย่างประการ เช่น ก าหนดชนิดข้อมูลได้หลายแบบ สามารถใช้ตัวชี้ต าแหน่ง (Pointer) ได้มีวิธีด าเนินการ

และการค านวณกับข้อมูลได้มากมายหลายแบบ

ตัวอย่าง ภาษาซี

#include <stdio.h>

void main() {

printf("Hello World");

}
ตาราง 2-2 การประยุกต์ใช้งานของภาษาคอมพิวเตอร์แต่ละภาษา


การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ(Object Oriented Programming)

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ เป็นแนวคิดใหม่ของการเขียนโปรแกรมโดยมีแนวคิดที่จะแทนสิ่งต่างๆ ที่เขียน

ขึ้นมาในโปรแกรมให้เหมือนกับวัตถุที่อยู่บนโลกความเป็นจริง ซึ่งวัตถุที่อยู่ในโปรแกรมจะถูกเรียกว่าอ็อฟเจ็ค

(Object) ผู้เขียนโปรแกรมสามารถน าออฟเจ็คต่างๆ มาท างานร่วมกันและสามารถสร้างออฟเจ็คใหม่ โดยมี

คุณสมบัติเหมือนออฟเจ็คเดิมแต่เพิ่มเติมคุณสมบัติใหม่เข้าไป

การเขียนโปรแกรมแบบ OOP สามารถท าได้ง่ายเพราะสามารถน าออฟเจ็คที่มีอยู่แล้วหยิบมาใช้งานได้

ทันที ช่วยลดเวลาในการพัฒนาโปรแกรม คุณสมบัติของอ็อฟเจ็คจะประกอบไปด้วย การซ่อนข้อมูล

(Encapsulation) การสืบทอด (Inheritance) และการพ้องรูป (polymorphism) ตัวอย่างภาษาที่ใช้หลักการ

เขียนแบบ OOP เช่น Smalltalk, C++, JAVA เป็นต้น

การเขียนโปรแกรมแบบวิชวล (Visual Programming)

ภาษาคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในตระกูล Visual เป็นภาษาที่พัฒนาต่อจาก OOP เป้าหมายของ Visual

Programming ท าให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมได้ง่าย การท างานจะเป็นกราฟฟิก ท าให้ผู้ใช้คิดเกี่ยวกับการ

แก้ปัญหาได้ง่าย การสร้างโปรแกรมใช้Icon แทนการเขียนโปรแกรมแบบเดิม โปรแกรมเมอร์จะเชื่อมต่อระหว่าง

Object โดยการวาดรูป การชี้การคลิกบนไดอะแกรม การเขียนโปรแกรมแบบ Visual จะต้องเป็นระบบ GUI

(Graphical User Interface)

เรียบเรียงโดย อ.พินันทา ฉัตรวัฒนา หน้า 11

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

 ตัวอย่างภาษาที่ใช้การเขียนโปรแกรมแบบวิชวล

การใช้เป็นเครื่องมือพัฒนาโปรแกรมที่มีการติดต่อกับผู้ใช้เป็นแบบกราฟิก โดยใช้เครื่องมือในการพัฒนา

• Visual Basic มีรากฐานมาจากภาษา Basic ถูกพัฒนาโดยบริษัท Microsoft มีจุดประสงค์ใน

• Visual J++ มีรากฐานมาจากภาษา JAVA ถูกพัฒนาโดยบริษัท Microsoft

• Visual C++ มีรากฐานมาจากภาษา C++

• Delphi มีรากฐานมาจากภาษา PASCAL ถูกพัฒนาโดยบริษัท Borland

• Visual COBOL มีรากฐานมาจากภาษา COBOL

การเขียนโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต (Internet Programming)

ปัจจุบันมีการใช้งานภาษาคอมพิวเตอร์บนอินเตอร์เน็ต โดยภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมบนระบบ

อินเตอร์เน็ต ได้แก่

เป็นภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่งที่มีโครงสร้างการเขียนโดยอาศัยตัวก ากับ (Tag) ควบคุมการแสดงผล

ข้อความ รูปภาพ หรือวัตถุอื่นๆ ผ่านโปรแกรมเบราเซอร์ แต่ละ Tag อาจจะมีส่วนขยายที่เรียกว่าAttribute

ส าหรับระบุ หรือควบคุมการแสดงผลของเว็บได้ด้วย

เดิมย่อมาจากPersonal Home Page แต่ต่อมาก็เปลี่ยนเป็นย่อมาจาก PHP Hypertext Preprocessor

เป็นภาษาใช้ส าหรับสร้าง Application บนเว็บเพจ PHP เป็นภาษาประเภท scripting language ค าสั่งต่างๆ จะ

เก็บอยู่ในไฟล์ที่เรียกว่า สคริปต์(script) และเวลาใช้งานต้องอาศัยตัวแปลชุดค าสั่ง PHP จะถูกเขียนร่วมกันการใช้

งานภาษา HTML

ใช้ส าหรับสร้างงาน (Application) ขั้นสูง ในอินเตอร์เน็ต-อินทราเน็ต เสริมการท างานที่ไฟล์ html

ธรรมดาท าไม่ได้หรือต้องการให้งานต่างๆ เป็นไปอย่างอัตโนมัติโดยผู้ใช้ไม่ต้องท าการปรับปรุงข้อมูลเองเหมาะ

ส าหรับผู้ใช้มืออาชีพหรือผู้ที่สนใจอย่างจริงจัง

JavaScript เป็นภาษายุคใหม่ส าหรับการเขียนโปรแกรมบนระบบอินเทอร์เน็ตที่ก าลังได้รับความนิยม

อย่างสูง เราสามารถเขียนโปรแกรม JavaScript เพิ่มเข้าไปในเว็ปเพจเพื่อใช้ประโยชน์ส าหรับงานด้านต่างๆ ทั้ง

การค านวณ การแสดงผล การรับ-ส่งข้อมูล และที่ส าคัญคือ สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้อย่างทันทีทันใด นอกจากนี้

HTML (HyperText Markup Language)

PHP

ASP (Active Server Pages)

JavaScript

เรียบเรียงโดย อ.พินันทา ฉัตรวัฒนา หน้า 12

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ยังมีความสามารถด้านอื่นๆ อีกหลายประการที่ช่วยสร้างความน่าสนใจให้กับเว็บเพจ ของเราได้อย่างมาก ภาษาจา

วาสคริปต์ถูกพัฒนาโดย เน็ตสเคปคอมมิวนิเคชันส์(Netscape Communications Corporation) โดยใช้ชื่อว่า

Live Script ออกมาพร้อมกับ Netscape Navigator2.0 เพื่อใช้สร้างเว็บเพจโดยติดต่อกับเซิร์ฟเวอร์แบบ Live

Wire ต่อมาเน็ตสเคปจึงได้ร่วมมือกับ บริษัทซันไมโครซิสเต็มส์ปรับปรุงระบบของบราวเซอร์เพื่อให้สามารถติดต่อ

ใช้งานกับภาษาจาวาได้และได้ปรับปรุง LiveScript ใหม่เมื่อ ปี2538 แล้วตั้งชื่อใหม่ว่า JavaScript

สิ่งที่ควรพิจารณาในการเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์

• หน่วยงานเดียวกันควรใช้ภาษาเดียวกัน เพื่อดูแลรักษาง่าย ช่วยลดค่าใช้จ่าย

• ควรเลือกโดยดูจากคุณสมบัติหรือข้อดีของภาษานั้นๆ เป็นหลัก เลือกข้อดีของภาษานั้นให้เหมาะสมกับ

งาน

• ควรใช้ภาษาที่ผู้ใช้มีความถนัดและมีความรู้ความเข้าใจในภาษานั้นๆ

• ถ้าต้องการใช้โปรแกรมบนเครื่องที่แตกต่างกันควรเลือกภาษาที่รองรับการท างานบนหลายแพลทฟอร์ม

(Platform)

• งานที่ไม่มีความซับซ้อนควรใช้ภาษาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน เช่น BASIC จะท าให้สามารถพัฒนาโปรแกรม

ได้ย่างรวดเร็ว

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น